การตั้งคำถาม Raising a Question ในการประชุมแต่ละที่หรือแต่ละครั้งก็มีกติกาแตกต่างกันไปเรื่องถามคำถาม บางที่ก็ให้ถามหลังจากประชุมเสร็จ แต่บางที่ก็ถามได้เลย อาจจะต้องยกมือขออนุญาตก่อนด้วยหรือไม่ คุณควรรู้มารยาทเหล่านี้ไว้ด้วย และเมื่อจะถามคำถาม ลองใช้ประโยคเหล่านี้ดู
I have a (few) question. ผมมีคำถาม ( few ใช้ในกรณีมีมากกว่าหนึ่งคำถาม) แล้วตามด้วยคำถามในเรื่องนั้นๆ เช่น
- Your marketing plan is like that of last year, isn’t it?
- What is the new project and when will it start?
- Who will be responsible for the talk in Dubai?
ส่วนการแสดงความคิดเห็น Stating your Opinion โดยปกติเราอาจจะต้องแสดงความคิดเห็น อาจจะมีคนถามหรือเราอาจจะอยากพูดสิ่งที่เราคิด ในภาษาอังกฤษ เราอาจจะใช้สำนวนเหล่านี้เพื่อแสดงว่าสิ่งที่เราจะพูด “เป็นความเห็นส่วนตัว” ของเรา เช่น
In my opinion….ในความคิดของฉัน/ ผม
I think …… ฉัน/ ผมคิดว่า
I regard... ฉัน/ ผมมองว่า
Speaking for myself... ถ้าพูดในมุมของฉัน/ ผม
To me... สำหรับฉัน/ ผม
I believe that... ฉัน/ ผมเชื่อว่า
It seems to me that..... สำหรับฉัน/ ผม ดูเหมือนว่า
According to me... ตามที่ฉัน/ ผมคิด
และเมื่อต้องการให้อธิบายเพิ่มเติมให้กระจ่าง Asking for clarity เราก็สามารถพูดได้ว่า
Can/ Could you explain that? คุณช่วยอธิบายหน่อยได้ไหม
I still don’t get that, can you give me more examples? ฉัน/ ผมยังไม่ค่อยเข้าใจ ขอตัวอย่างเพิ่มได้ไหมครับ/ คะ
Credit: http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/30359-042857/
Monday, August 31, 2015
Friday, August 28, 2015
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุคมนาคมประเภทจำกัดเขตเดินเรือและทั่วไปประจำเรือ (GMDSS ROC&GOC)
GMDSS หรือ Global Maritime Distress and Safety System ระบบความปลอดภัยและแจ้งเหตุภัยพิบัติทางทะเลทั่วโลก
อุปกรณ์เบื้องต้นในระบบ GMDSS ในลักษณะบังคับพื้นฐาน คือ
![](https://lh3.googleusercontent.com/blogger_img_proxy/AEn0k_tyebRE8MeAFaKGfyoMorSpRoqI4q02n382NZE4ydQ1IV3bXd30nUnX1r-VhCNRYnlOcfto1ftU8y-w_AeVbUcWlPXh0BuoYea7xbLlBwd2fyeYQ9VPKpgaphjDhRkBXuu-5I35JmgKYSYo10-CQSR59_VilcbkIIfvUxtNDDPNN_SSYbYVMyTFrQ8=s0-d)
Credit : http://distributedcontrolsystem.wikispaces.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A+DCS+(Distributed+Control+System)+%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99
http://www.nbtc.go.th/wps/portal/NTC/!ut/p/c4/04_SB8K8xLLM9MSSzPy8xBz9CP0os3gTf3MX0wB3U0-nkEBDA89gg1CTsCAzEyMTU_2CbEdFACXbjKk!/?WCM_GLOBAL_CONTEXT=/wps/wcm/connect/library+ntc/internetsite/06tcbuslicapp/0602buspromotion/060201sharedoc/06020103manual/06020103manual_detail/manl00002
เรือทั้งหมดที่จดทะเบียนกับ IMO (INTERNATIONAL MARITIRY ORGANIZATION) จะต้องจัดการออกแบบหรือจัดเตรียมไว้เพื่อความสะดวกในการจัดหาหรือให้มีการติดตั้งใช้งานระบบ INMARSAT ซึ่งจัดเตรียมให้มี ใช้งานเพื่อประโยชน์ด้านการสื่อสารทางการพาณิชย์ (COMMERCIAL COMMUNICATION) รวมทั้งการยอมรับสําหรับการปฏิบัติการในระบบ GMDSS ด้วย
อุปกรณ์เบื้องต้นในระบบ GMDSS ในลักษณะบังคับพื้นฐาน คือ
- INMARSAT C ใช้ E-MAIL (X.25x.400) SHORT DATA REPORT และ EGC (ENHANCED GROUP CALL)
- ชุดเครื่องรับ-ส่ง MF/HF DSC (NBDP) ใช้เฝ้ารับ (WATCH KEEPING) และส่ง DISTRESS SIGNAL
- INMARSAT E (EPIRB) กระโจมวิทยุแจ้งตําบลที่ฉุกเฉินด้วยดาวเทียม
- SART (SEARCH AND RESCUE RADAR TRANSPONDER) หรือกระโจมส่งสัญญาณสะท้อนคลื่นเรดารในย่านความถี่ 9 GHz. (หรือย่าน MARITIME RADAR)
- NAVTEX หรือเรียกว่าเครื่องรับ ข่าวสารระหว่างประเทศ
- วิทยุมือถือ VHF ชนิดผนึกกันน้ำ
- เครื่องวิทยุ VHF ย่านความถี่เดินเรือ 155 – 162 MHz. FM
- เครื่องวิทยุ VHF DSC (DIGITAL SELECTIVE CALLING) เฉพาะช่อง 70 พร้อม PRINTER 1 ตัว
ระบบ DCS (Distributed Control System)คือ ระบบควบคุม(Control)และเฝ้าดู(monitor)ที่ใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับระบบควบคุมทั้งหมดและใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุดในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เช่น โรงกลั่นน้ำมัน แท่นขุดเจาะน้ำมันและก๊าส อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมิคอลทั้งหลาย ทั้งนี้ระบบ DCS ยังมีให้เลือกใช้หลายยี่ห้อด้วยกัน เช่น Honeywell Yokogawa Siemens Emerson ABB เป็นต้น และระบบ DCS นั้นยังมีความเสถียรและแม่นยำค่อนข้างสูงมาก จึงเป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงสูง เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เป็นต้น ดังนั้นไม่ต้องสงสัยเลยว่าทำไมระบบ DCS นั้นถึงมีราคาค่อนข้างแพง
ตัวอย่างของระบบ DCS ของ Honeywell
Credit : http://distributedcontrolsystem.wikispaces.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A+DCS+(Distributed+Control+System)+%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99
http://www.nbtc.go.th/wps/portal/NTC/!ut/p/c4/04_SB8K8xLLM9MSSzPy8xBz9CP0os3gTf3MX0wB3U0-nkEBDA89gg1CTsCAzEyMTU_2CbEdFACXbjKk!/?WCM_GLOBAL_CONTEXT=/wps/wcm/connect/library+ntc/internetsite/06tcbuslicapp/0602buspromotion/060201sharedoc/06020103manual/06020103manual_detail/manl00002
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย และส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น
1. การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Comfiguration)
-
Point-to-Point เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว เช่น การใช้สายเคเบิล หรือคลื่นไมโครเวฟ
-
Multi-Point เป็นการใช้ช่องทางสื่อสารร่วมกันระหว่างหลายอุปกรณ์ ข้อดีคือประหยัดสาย แต่ข้อเสียคือข้อมูลอาจชนกันได้ ซึ่งจะต้องมีการส่งใหม่จนกว่าจะสำเร็จ อย่างไรก็ตาม การสื่อสารปัจจุบันมักใช้แบบนี้
2. รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
-
แบบ Bus ใช้สายเคเบิลเส้นหนึ่งทำเป็น Backbone แกนหลัก โดยทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับสายเส้นนี้ มี Drop Lines เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์และสายเคเบิล Tap เป็นคอนเนคเตอร์เชื่อต่อ ที่ปลายทางของสองฝั่งจะมี Terminator ดูดซับสัญญาณไม่ให้สัญญาณที่วิ่งไปปลายสายแล้วเกิดสะท้อนกลับ
-
แบบ Star นำฮับมาใช้เป็นศูนย์กลางของสายสื่อสารทั้งหมด ทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงผ่านฮับทั้งสิ้น ซึ่งช่วยให้เครือข่ายมีความคงทนยิ่งขึ้น หากมีสายหนึ่งขาดก็จะส่งผลต่อโหนดนั้นเท่านั้น แต่ถ้าฮับพัง ก็จะส่งผลต่อระบบโดยรวม
-
แบบ Ring เป็นการเชื่อมจุดต่อจุดเป็นวงแหวน โดยส่งสัญญาณทิศทางเดียวกัน แต่โหนดจะทวนสัญญาณส่งทอดโหนดถัดไปไปเรื่อยๆ เมื่อถึงปลายทาง โหนดปลายทางก็จะคัดลอกข้อมูลเก็บไว้ และส่งข้อมูลผ่านไปจนถึงโหนดผู้ส่ง เมื่อได้รับข้อมูลเดิมที่ตนส่งไปก็จะทราบว่าส่งเสร็จแล้ว
-
แบบ Mesh เป็นการเชื่อมต่อจุดต่อจุดอย่างแท้จริง แตละโหนดจะมีสายไปยังทุกโหนดที่เหลือ
การคำนวณจุดเชื่อมต่อและจำนวนสายที่ต้องเพิ่ม (Mesh)
Connnections = ( N2- N ) / 2
จำนวนสายที่ต้องเพิ่ม = N – 1
ตัวอย่าง มีคอมพิวเตอร์ 5 เครื่อง 2 เครื่องอยู่ Location 1 อีก 3 เครื่องอยู่ Location 2 จากสูตรจะได้
จำนวนจุดเชื่อมต่อที่ต้องใช้สาย = ( 52 – 5 ) / 2 = 10 สาย
ต่อมา มีการเพิ่มจำนวนเครื่องบน Location 1 อีก 1 เครื่อง เป็น N=6 จะได้ Connections = 15 สาย (จากเดิม 10 สาย) ซึ่งจำนวนสายที่เพิ่มขึ้น หาได้จาก
จำนวนสายที่ต้องเพิ่ม = 6 –1 = 5 สาย
Topology
|
ข้อดี
|
ข้อเสีย
|
Bus
|
- โครงสร้างไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย - เพิ่มโหนดได้ง่าย - ประหยัดสายสื่อสาร |
- หาก backbone ขาด เครือข่ายชะงักทันที - กรณีเกิดข้อผิดพลาดบนเครือข่าย จะค้นหาจุดผิดยาก เพราะทุกอุกรณ์ต่างก็เชื่อมกับแกนหลัก - ระหว่างแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามข้อกำหนด |
Star
|
- มีความคงทนสูง - จัดการดูแลที่ศูนย์กลางได้ง่าย |
- เปลืองสายเคเบิล - กรณีเพิ่มโหนด ฮับต้องมีพอร์ตว่าง และต้องลากสายจากฮับไปปลายทาง - หากฮับใช้งานไม่ได้ ทุกโหนดก็จะใช้งานไม่ได้ด้วย |
Ring
|
- แต่ละโหนดในวงแหวน มีโอกาสส่งข้อมูลได้เท่าเทียมกัน - ประหยัดสายสัญญาณ ใช้สายเท่ากันจำนวนโหนดที่เชื่อมต่อ - ง่ายต่อการติดตั้งและเพิ่มลดจำนวนโหนด |
- หากวงแหวนชำรุดหรือขาด จะส่งผลต่อระบบทั้งหมด - ตรวจสอบได้ยาก กรณีมีจุดใดจุดหนึ่งขัดข้อง ต้องหาทีละจุดว่าขัดข้องอย่างไร |
Mesh
|
- ใช้แบนด์วิดธ์เต็มที่ ไม่มีโหนดอื่นมาแชร์ - ปลอดภัย/ส่วนตัวในข้อมูลระหว่างโหนด - คงทน ถ้ามีลิงค์เสียก็เลี่ยงไปใช้ลิงค์อื่นได้ |
- เปลืองสายมากที่สุด |
3. LAN Components
-
Servers
-
Clients/Workstation
-
Network Interface Cards
-
Network Cables
-
Network Hubs
-
Network Operating System
4. อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย
-
Repeater/Hub ทำงานบนชั้น Physical โดย Repeater มักจะมีเพียง 2 พอร์ต เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย ซึ่ง Hub ก็คือ Repeater หลายๆ พอร์ตนั่นเอง นอกจากนำมาใช้เป็นศูนย์กลางรับส่งข้อมูลแล้ว ยังเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณด้วย
-
ฮับแบ่งเป็น 2 ชนิด
-
Active Hub ปกติที่ใช้งานจะเป็นอันนี้ ทำหน้าที่ รับ กรั่นกรองสัญญาณรบกวน ปรับแต่งระดับสัญญาณ และกระจายไปยังทุกๆ พอร์ตที่เชื่อมต่อ
-
Passive Hub จะไม่มีการปรับแต่งสัญญาณ ตัวอย่างอุปรณ์ Patch Panel ซึ่งไม่ต้องใช้กำลังไฟฟ้าเหมือนฮับทั่วไป ใช้เป็นเพียงจุดเชื่อมต่อของสายสัญญาณเท่านั้
-
-
-
ข้อควรรู้
-
การเชื่อมแต่ละเซกเมนต์ด้วยฮับ จะถือเป็น Collision Domain เดียวกัน ใช้จราจรร่วมกัน ทำให้การจราจรคับคั่ง ส่งผลต่ออัตราการชนกันของข้อมูลที่เพิ่มขึ้น และไม่ควรใช้กับเครือข่ายที่แต่ละเซกเมนต์มีวิธีการแอคเซสต่างกัน
-
ควรใช้เมื่อต้องการปรับแต่งสัญญาณ (ให้เหมือนสัญญาณเดิม) เพื่อส่งในระยะไกลขึ้น แต่ไม่เกี่ยวอะไรกับการกลั่นกรองข้อมูลบนเครือข่าย
-
Bridge ทำงานชั้น Physical และ Data Link เชื่อมต่อเครือข่าย เช่น Ethernet ด้วยกัน หรือ Ethernet กับ Token Ring คล้าย Repeater แต่ สามารถแบ่งเซกเมนต์เป็นคนละ Collision Domain กันได้ และยังส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายได การทำงานของบริดจ์ชั้นดาต้าลิงค์ จะเข้าถึงทุก Phisical Address เมื่อเฟรมข้อมูลเดินทางมาถึง บริดจ์จะตรวจสอบแอดเดรสปลายทาง และส่งไปยังเซกเมนต์ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น จึงช่วยลดความคับคั่งบนเครือข่าย บริดจ์มีเพียง 2 พอร์ต
Switch คล้ายบริดจ์แต่มีหลายพอร์ต มี Switch Layer 2 (ทำงานเหมือนบริดจ์) และ Switch Layer 3 (ทำงานเหมือนเร้าเตอร์)
Router ทำงานชั้น Physical, Data Link, Network เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ กลุ่ม LAN-LAN, LAN-WAN โดยจะเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อส่งแพ็คเก็ตไปยังปลายทาง รวมถึงสามารถเปลี่ยนเส้นทางกรณีเส้นทางที่ใช้อยู่ขัดข้อง
Gateway ทำงานบนทุกชั้นสื่อสาร โดยอนุญาตให้คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันด้วยโปรโตคอล สถาปัตยกรรม แพลตฟอร์มต่างกัน เชื่อมกันได้หมด
5. เทคโนโลยีเครือข่าย
-
LAN
-
Ethernet
-
Token Bus
-
Token Ring
-
FDDI
-
-
MAN
-
WAN
6. Switching
การนำอุปกรณ์มาเชื่อมต่อนั้น เราต้องการให้มีการสื่อสารแบบจุดต่อจุด แต่การทำแบบ Mesh นั้นก็ไม่ไหวเพราะเป็นไปไม่ได้สำหรับเคริอข่ายขนาดใหญ่ แนวทางที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งก็คือ Switching โดยเครือข่ายสวิตชิ่งประกอบด้วย Interlinked Node ที่เรียงติดกันเป็นลำดับเรียกว่า Switch สวิตช์คืออุปรกณ์ที่สามารถสร้างการเชื่อมต่อแบบชั่วคราวระหว่างสองอุปกรณ์หรือมากกว่าเพื่อลิงค์ผ่านสวิตช์ได้ สำหรับเครือข่ายสวิตช์อาจหมายถึง
-
End Systems เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
-
Routing อุปกรณ์กำหนดเส้นทาง
เทคนิคการสวิตชิ่งมี 3 ประเภท
-
Circuit Switching Networks มักใช้กับการสื่อสารทางเสียง จะมีการสร้างเส้นทางแบบถือครองเส้นทางนั้นตลอดระยะเวลาที่สื่อสาร (Dedicated Path) และถือครองโดยที่ผู้อื่นใช้ไม่ได้จนกว่าจะส่งเสร็จจึงจะปล่อย (Release) ซึ่งเป็นข้อเสีย ส่วนข้อดีคือ หลังการสร้างคอนเน็กชั่น จะส่งข้อมูลได้เร็ว ค่าหน่วงน้อย แต่อาจจะต้องรอซักหน่อยในการสร้างคอนเน็กชั่น ตัวอย่าง ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์ทั้งสองฝั่งจำเป็นจะต้องมีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Data Rate) เท่ากัน ทำงานชั้น Physical
-
Message Switching Networks จะส่งจากต้นทางไปยังปลายทางในลักษณะเป็นทอดๆ โดยมีการถือครองเส้นทางในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เช่น S->a->c->T เมื่อ S ส่งไป a a จะเก็บข้อมูลข้อมูลไว้ชั่วคราว แล้วเส้นทาง S->a ก็จะถูกปลดออก a ก็ไปถือครองเส้นทางกับ c ต่อไป ข้อดีคือมีประสิทธิภาพ ผู้อื่นสามารถใช้ทางได้ แต่ข้อเสียคือค่าหน่วงเวลาสูงมาก เนื่องจากตัวจัดเก็บข้อมูลประมวลผลช้า (Disk) โดยปกติก็เลยจะมีการแบ่งข้อมูลเป็นส่วนๆ เพราะข้อมูลขนาดใหญ่จะยิงจัดเก็บช้าขึ้น
-
Package Switching Networks คล้ายวิธีที่ 2 แต่เพิ่มคุณสมบัติเข้ามา 1) จำกัดขนาดแพ็คเก็ต ประมาณ 400-6000 ไบต์ ถ้าเมสเซสใหญ่กว่าขนาดแพ็คเก็ต ก็จะแตกออกเป็นหลายแพ็คเก็ต 2) การจัดเก็บระหว่างส่งผ่านจะเก็บ (Store) บน RAM ความเร็วสูง และส่งต่อ (Forward) ไปโหนดอื่น ข้อดีคือ ค่าความหน่วงน้อย โดยค่าหน่วงจะเกิดขึ้นเพียงชั่วครู่ที่ผ่านเส้นทางครั้งแรก หลังจากนั้น แพ็คเก็ตอื่นๆ จะทยอยตามมาอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเทคโนโลยีที่มีพืนฐานการส่งแบบ Packet Switching เช่น Frame Relay, Asynchronous Tranfer Mode (ATM), Internet
-
Datagram Networks ถูกส่งไปตามเส้นทางโดยอิสระ จะเรยกแพ็ตเก็ตว่า Datagram ทำงานชั้น Network สวิตซ์ในเคริอข่ายหมายถึงเร้าเตอร์ แต่ละส่วนอาจเดินทางคนละเส้นทางกันก็ได้ ข้อเสียคือแพ็คเก็ตอาจมาไม่ถึงพร้อมกัน ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของโปรโตคอลชั้นสูงไป จัดการเรื่องลำดับและดาต้าแกรมสูญหายหรือซ้ำซ้อน
-
Virtual-Circuit Networks = Circuit+Datagram ทำงานชั้น Data Link เส้นทางในเชิงตรรกะดูเหมือนเชื่อมต่อกัน แต่ในทางกายภาพจะเป็นเส้นทางเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายสวิตซ์แบบไม่ถาวร โดยจะทำงานในช่วงเวลาหนึ่งที่มีส่งแพ็ตเก็ต แต่ถ้าไม่มีการส่งก็จะไม่มีการเชื่อมต่อ คือจะสร้างวงจรสมมติขึ้นมาเหมือนมีเส้นทางจริงที่เชื่อมโยง อย่างต่อเนื่องจากต้นทางไปปลายทาง
-
แบบจำลองเครือข่าย
1. ISO และ OSI
องค์กร ISO ได้ประกาศแบบจำลอง OSI (Open Systems Interconnection) เพื่อให้ระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันได้ อย่างไรก็ตาม OSI ไม่ใช่โปรโตคอล เป็นเพียงแบบจำลองแนวคิดเกี่ยวกับการทำงานของแต่ละชั้นสื่อสาร (Layers) ซึ่งจะมีชื่อเรียกและฟังก์ชั่นหน้าที่ต่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้ออกแบบระบบสื่อสาร มีทั้งมด 7 ชั้น
คณะทำงานอินเตอร์เน็ต (Internet Community) ได้กำหนดแบบจำลองอินเตอร์ หรือชุดโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งแบ่งเป็น 5 ชั้นสื่อสาร และแบบจำลองมักใช้โดยทั่วไป
องค์กร ISO ได้ประกาศแบบจำลอง OSI (Open Systems Interconnection) เพื่อให้ระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันได้ อย่างไรก็ตาม OSI ไม่ใช่โปรโตคอล เป็นเพียงแบบจำลองแนวคิดเกี่ยวกับการทำงานของแต่ละชั้นสื่อสาร (Layers) ซึ่งจะมีชื่อเรียกและฟังก์ชั่นหน้าที่ต่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้ออกแบบระบบสื่อสาร มีทั้งมด 7 ชั้น
- Physical Layer
- Data Link Layer
- Network Layer
- Transport Layer
- Session Layer
- Presentation Layer
- Application Layer
- เพื่อลดความซับซ้อน เข้าใจได้ง่าย
- เพื่อให้แต่ละชั้นมีหน้าที่ชัดเจน
- เพื่อให้แต่ละชั้นทำตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสอดคล้องมาตรฐานสากล
- การสื่อสารคล่องตัว ป้องกันกรณีเปลี่ยนแปลงชั้นหนึ่งๆ แล้วส่งผลต่อชั้นอื่น
- จำนวนชั้นต้องมีมากพอ และเหมาะสม ไม่มากเกินไป
- แต่ละชั้นสื่อสาร จะมีการสื่อสารทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
- มาตรฐานบริการ (Service) คือ ชุดคำสั่งการปฏิบัติงานที่เตรียมไว้เพื่อบริการชั้นเหนือกว่า และใช้ข้อมูลจากชั้นที่ต่ำกว่า (แนวตั้ง)
- มาตรฐานโปรโตคอล (Protocol) เกี่ยวกับการสื่อสารบนชั้นเดียวกันระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง เชื่อมกันทางตรรกะ (แนวนอน)
- การสื่อสารจะส่งมาจากชั้นบนสด (Application) มาชั้นล่างสุด (Physical) ซึ่งก็จะมีการแปะ Header เพิ่มเข้ามาในหน่วยข้อมูลจากแต่ละชั้น เพื่อส่งข้อมูลเพิ่มเติมเหมือนเป็น remark ของแต่่ละชั้น เรียกว่า Encapsulation พอถึงปลายทางอีกเครื่องก็จะเกิด Decapsulation ออกมา
- Physical Layer
- Interface and Medium
- Representation of Bits
- Data/Transmission Rate
- Synchronization of Bits
- Line Configuration
- Physical Topology
- Transmission Mode
- Data Link Layer
- ชั้นสื่อสารย่อย LLC
- ชั้นสื่อสารย่อย MAC
- Framing
- Physical Addressing
- Flow Control
- Error Control
- Access Control
- Network Layer
- Logical Addressing
- Routing
- Transport Layer
- Port Address
- Segment and Reassembly
- Connection Control
- Flow Control
- Error Control
- Session Layer
- Dialog Control
- Synchronization
- Presentation Layer
- Translation
- Encryption
- Compression
- Application Layer
- Network Virtual Terminal
- File Tranfer, Access and Management
- Mail Service
- Directory Services
คณะทำงานอินเตอร์เน็ต (Internet Community) ได้กำหนดแบบจำลองอินเตอร์ หรือชุดโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งแบ่งเป็น 5 ชั้นสื่อสาร และแบบจำลองมักใช้โดยทั่วไป
- Physical Layer
- Data Link Layer
- Network Layer
- Transport Layer
- Application Layer
พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
1. ส่วนประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
มาตรฐานเครือข่าย คือ ข้อกำหนดเพื่อให้เกิดความแน่นอนของระบบการสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์
9. ประเภทของมาตรฐาน
- ข่าวสาร (Message)
- ผู้ส่ง (Sender/Source)
- ผุ้รับ (Reciever/Destination)
- สื่อกลาง (Transmission Medium)
- โปรโตคอล (Protocol) ข้อตกลงระหว่างผู้ส่งกับผู้รับให้สื่อสารกันได้
- การส่งมอบ (Delivery) ส่งไปยังปลายทางที่ถูกต้อง
- ความถูกต้อง (Accuracy) ส่งได้เที่ยงตรง ควรมีการแจ้งเตือนกรณีการส่งล้มเหลว
- ระยะเวลา (Timeliness) ส่งถึงภายในเวลาเหมาะสม ทันต่อการใช้
- การสื่อสารโทรคมนาคม หมายถึง การสื่อสารระยะไกล เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศ
- เกี่ยวข้องกับการใช้ Electronics Transmitters เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์
- การสื่อสารข้อมูลเป็นส่วนย่อยของการสื่อสารโทรคมนาคม
- เครือข่าย อาจหมายถึงเครือข่ายที่เชื่อมในโยงพื้นที่เดียวกันหรือระยะไกล
- โทรเลข (Telegraphy)
แปลง ตัวอักษร/ตัวเลข -> รหัส -> สัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งผ่านสื่อกลาง เช่น สายทองแดง ปลายทางก็จะถอดรหัส แต่ในประเทศไทยได้ยกเลิกการใช้งานเมื่อ 1 พ.ค. 2551 - โทรพิมพ์ (Telex)
เป็นโทรเลขอีกแบบ ที่ผู้ใช้งานติดต่อโต้ตอบกันได้ โดยเครื่องโทรพิมพ์คล้ายเครื่องพิมพ์ดีดเป็นทั้งเครื่องรับและส่ง โดยการพิมพ์ข้อความบนกระดาษ - โทรสาร (Facsimile, Fax) สแกนเอกสารแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งตามสายโทรศัพท์
- โทรศัพท์ (Telephone)
- โทรทัศน์ (Television)
- วิทยุกระจายเสียง (Radio)
- ไมโครเวฟ (Microwave)
- ดาวเทียม (Satellite)
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำกลุ่มคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ มาเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย
- โดยใช้สื่อกลาง เช่น เคเบิล คลื่นวิทยุ เป็นเส้นทางลำเลียงข้อมูล
- ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เป็นซอร์ฟแวร์ที่นำมาเชื่อมโยงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เข้ปราด้วยกัน ทำให้เครือข่ายเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งเดียวกันได้ ทำหน้าทีบริหารทรัพยากรเครือข่ายและให้ผู้ใช้สารมารถใช้ทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่ายได้สะดวก
- การใช้ทรัพยากรร่วมกัน
- ช่วยลดต้นทุน
- เพื่อความสะดวกในการสื่อสาร
- ความน่าเชือถือและความปลอดภัยของระบบ
- Performance
- จำนวนผู้ใช้
- ชนิดสื่อกลาง
- อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
- ซอร์ฟแวร์
- Reliability
- ความถี่ของการล้มเหลว
- ระยะเวลาในการกู้คืน
- ความคงทนต่อความผิดพลาด
- Security
- สิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล
- ไวรัสคอมพิวเตอร์
มาตรฐานเครือข่าย คือ ข้อกำหนดเพื่อให้เกิดความแน่นอนของระบบการสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์
9. ประเภทของมาตรฐาน
- มาตรฐานโดยพฤตินัย (By Fact) สร้างขึ้นเอง โดยผู้ผลิตกับผู้ใช้ หรือกลุ่มบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกัน
- มาตรฐานโดยนิตินัย (By Law) กำหนดเป็นทางการ กฎหมายรับรอง
- ขั้นกำหนดรรายละเอียดของปัญหา
- ขั้นกำหนดทางเลือก
- ขั้นการยอมรับ
- มาตรฐานทั้งตั้งขึ้นโดยกลุ่มคณะกรรมการ (Standards Creation Committees)
- ISO สนับสนุนการกำหนดมาตรฐานระหว่างชาติ เช่น OSI Model
- ITU-T กำหนดมาตรฐานด้านการสื่อสารโทรคมนาคมระดับสากล ให้คำปรึกษา เช่น โทรศัพท์ โทรเลข
- ANSI ประสานงานระหว่างองค์กรกำหนดมาตรฐานอื่นๆ วิเคราะห์หาข้อสรุป เช่น ANSI-COBOL
- IEEE กำหนดมาตรฐานการสื่อสาร วิจัยผลิตภัณฑ์วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ชั้น Phisical และ Data Link เช่น มาตรฐาน LAN โครงการ 802.11
- EIA กำหนดมาตรฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พวกปลั๊กเชื่อม อินเตอร์เฟส เช่น RS-323 สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับโมเด็มแบบอนุกรม
- Forums กลุ่มคนที่สนใจเรื่องเดียวกัน เช่น Frame Relay Forum, ATM Forum
- ตัวแทนที่ได้รับมอบหมายโดยรัฐ (Governmenct Regulatory Agencies) เช่น FCC ของอเมริกาที่กำหนดการใช้คลื่นวิทยุผ่านสายและไร้สาย
- LAN ระดับท้องถิ่น
- MAN ระดับเมือง เพื่อการสื่อสารควาเร็วสูง เช่น สาขาต่างๆในเมืองเดียวกัน เคเบิลทีวี
- WAN ระดับประเทศ
- Switched-WAN เชื่อมระหว่างเครือข่าย ปกติมักหมายถึงเร้าเตอร์ ที่เชื่อมโยงไปเครือข่ายอื่นได้ เช่น ATM, Wireless-WAN
- Point-to-Pint WAN ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเข้าถึงอินเตอร์เน็ตจากบ้านไปยัง ISP
- Terminal to Mainframe
- Microcomputer to Mainframe
- Microcomputer to LAN
- Microcomputer to Internet
- LAN to LAN
- LAN to MAN
- LAN to Internet
- PAN to Workstation
- Sattelite and Microwave
- Wireless Telephone
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
1. ความหมาย
คอมพิวเตอร์คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทำงานตามชุดสั่งอย่างอัตโนมัติโดยจะทำการคำนวณ เปรียบเทียบทางตรรกะกับข้อมูลและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ2. วิวัฒนาการ
- ยุคประวัติศาสตร์ เครื่องคำนวณเครื่องแรกของโลก ได้แก่ ลูกคิด ชาวจีนได้ใช้มากว่า 7000 ปี
- ยุคที่ 1 พ.ศ.(2488-2501) คอมพิวเตอร์เครื่องแรกคือ UNIVAC (Universal Automatic Computer) ใช้ในการสำรวจสำมะโนประชากรประจำปี ใช้หลอดสุญญากาศในการควบคุมการทำงานของเครื่อง ซึ่งทำงานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีขนาดใหญ่มาก ราคาแพง ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง ไส้หลอดขาดบ่อย
- ยุคที่ 2 พ.ศ.(2502-2506) มีการนำทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทำงานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนต่ำ ทำงานเร็ว
- ยุคที่ 3 พ.ศ.(2507-2512) ได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทำให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนำเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI)
- ยุคที่ 4 พ.ศ.(2513-2532) เป็นยุคที่นำสารกึ่งตัวนำมาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทำให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทำงานสูงและรวดเร็วมาก จึงทำให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกำเนิดขึ้นมาในยุคนี้
- ยุคที่ 5 2533-ปัจจุบัน (ในอนาคต) มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
3. ประเภท
- Supercomputer
- Mainframe
- Minicomputer
- Microcomputer
4. ประโยชน์
- การทำงานเอกสารที่ซ้ำๆ ได้อย่างรวดเร็ว
- การคำนวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยำ
- สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย
- การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้
- การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
5. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1) บุคลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ คือ ผู้จัดการระบบ (System Manager) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ผู้ใช้ (User)2) กรรมวิธี คือกระบวนการอธิบายขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ตั้งแต่การรับข้อมูล การประมวลผล และการแสดงผล
3) ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น
- ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)
- OS
- Translator
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
- แบบสำเร็จรูป
- ใช้งานเฉพาะด้าน
- ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data)
- ข้อมูลตัวอักษร (Text Data)
- ข้อมูลเสียง (Audio Data)
- ข้อมูลภาพ (Images Data)
- และข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)
- ส่วนการนำเข้า (Input)
- ส่วนการประมวลผล (Processing)
- ส่วนการแสดงผล (Output)
6. อุปกรณ์พื้นฐาน
ส่วนประกอบ
|
หน้าที่
|
1. Monitor | Screen, Display ใช้แสดงผลทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว จอภาพในปัจจุบัน ส่วนมากใช้จอแบบหลอดภาพ (CRT หรือ Cathode Ray Tube)และจอแบบผลึกเหลว (LCD หรือ Liquid Crystal Display) |
2. Computer Case | เก็บอุปกรณ์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ |
3. Keyboard | ใช้พิมพ์คำสั่ง หรือป้อนข้อมูล มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่มีปุ่มพิมพ์มากกว่า |
4. Mouse | ใช้ชี้ตำแหน่งบนจอภาพ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน เช่นเดียวกับการป้อนคำสั่งทางคีย์บอร์ด |
5. Modem | อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถส่งไปตามสายโทรศัพท์ได้ |
6. Printer | อุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมาทางกระดาษ |
7. Scanner | อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความมาสแกน แล้วจัดเก็บไว้เป็นไฟล์ภาพ เพื่อนำไปใช้งานต่อไป |
Ke$ha Music Video Collection
พอดีเราเป็นแฟนคลับนางน่ะ ชอบนางมากกกก เลยรวม Music Video เพลงของนางซะเลย >3<
I'm a big fan of Ke$ha. So I collected all her music videos here. ^^
I'm a big fan of Ke$ha. So I collected all her music videos here. ^^
1. Tik Tok
2. Blah Blah Blah ft. 3OH!3
3. Your Love Is My Drug
4. Take It Off
5. Take It Off (K$ n' Friends Version)
6. We R Who We R
7. Blow
8. Animal
9. Stephen
10. Backstabber
11. Dirty Picture (Taio Cruz ft. Ke$ha)
11. My First Kiss (3OH!3 ft. Ke$ha)
12. Disney's Princess Ke$ha
13. Die Young
14. C'Mon
15. Crazy Kids ft. will.i.am
16. Timber (Pitbull ft. Ke$ha)
17. Dirty Love
11. Dirty Picture (Taio Cruz ft. Ke$ha)
11. My First Kiss (3OH!3 ft. Ke$ha)
12. Disney's Princess Ke$ha
13. Die Young
14. C'Mon
15. Crazy Kids ft. will.i.am
16. Timber (Pitbull ft. Ke$ha)
17. Dirty Love
Flowchart เบื้องต้น
1. ความหมายผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า2. ประเภทผังงาน
- ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้างๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
- ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
3. ประโยชน์ของผังงาน
- ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define)
- แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing)
- หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
- ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
- ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language)
4. สัญลักษณ์ผังงาน
5. รูปแบบการจัดภาพของผังงาน
1) การทำงานแบบตามลำดับ (Sequence)
รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์2) การเลือกกระทำตามเงื่อนไข (Decision or Selection)
การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
3) การทำซ้ำ (Repeation or Loop)
การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง3.1) เงื่อนไขแบบ while
3.2) เงื่อนไขแบบ do while
3.3) เงื่อนไขแบบ for
6. ตัวอย่างผังงาน
การใช้ Tense
1. Present Simple Tense
- เหตุการณ์ที่เป็นจริงทั่วๆไป (general truth)
- การกระทำที่ทำเป็นประจำจนติดเป็นนิสัย
- เหตุการณ์ที่เป็นความจริงในขณะที่พูด
- สิ่งที่กำหนดแน่นอนว่าจะทำในอนาคต
- บอกคำพูด นิยาย หรือคำประพันธ์ที่ผู้ประพันธ์ได้กล่าวไว้
- ใช้กับประโยค If-Cluase เพื่อบอกเหตุผลที่จะเกิดขึ้น หรือเงื่อนไขบางประการที่เป็นไปได้
- ใช้กับประโยคอุทาน หลังคำว่า here หรือ there
- The earth moves round the sun.
- He gets up early everyday.
- She sleeps in the bed.
- He sets sail tomorrow and comes back next week.
- Obama says that we must change.
- If she comes, I will see her.
- Here comes the bus! / There goes your friends!
2. Present Continuous Tense
- การกระทำที่กำลังเกิดขึ้นขณะพูด
- เหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นเป็นประจำขณะที่พูด (ใช้แทน Present Simple Tense ได้)
- เหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ คากว่าเกิดขึ้นแน่นอน (ส่วนใหญ่ใช้กับกริยาเคลื่นที่)
- กริยาที่ใช้กับ continuous tense ไม่ได้
- สภาวะจิตใจหรือความรู้สึก believe feel doubt want wish know like love suppose hate remember recognize see think
- การรับรู้ appear hear look seem smell taste
- ความเป็นเจ้าของ posses own have belong
- อื่นๆ agree consist deny depend disagree mean please promise include need satisfy surprise
- He is walking now.
- My dad is just sleeping in the bed. (เน้นว่ากำลังเกิดขึ้น ให้หนักแน่นยิ่งขึ้น)
- He is working hard this month.
- She is coming here next week.
- I am going to hunt next week.
3. Present Pefect Tense
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต และยังคงดำเนินต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แม้ในขณะที่พูดถึงเหตุการณ์นั้นอยู่ มักมีคำต่อไปนี้ since, for, so far, up to now, up to the present
- เหตุการณ์ที่แสดงว่า เคยหรือไม่เคยทำ นับตั้งแต่อดีตเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน มีกมีคำเหล่านี้ never, ever, once, twice
- เหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงใหม่ๆ มีกมีคำเหล่านี้ just, yet, already
- เหตุการณ์ที่จบลงไปแล้ว แต่ผู้พูดยังคงรู้สึกถึงผลของเหตุการณ์นั้นอยู่
- I have lived in Bangkok since I was 18 years old.
- She has slept in the room for 8 hours.
- Have you ever been to Tokyo?
- I have just com back from Japan.
- Has he finished the work yet? No. not yet.
- I’ve seen her before.
4. Present Perfect Continuous Tense
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต และดำเนินต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน มีความต่อเนื่องของการกระทำ มักมีคำว่า since, for
- คำกริยาที่ใช้ใน tense นี้ ต้องเป็นคำที่แสดงถึงความต่อเนื่องเท่านั้น ได้แก่ learn, live, wait, eat ฯลฯ กริยาที่ใช้ไม่ได้ เช่น stop, lie, arrive
- เน้นความต่อเนื่องของการกระทำมากกว่า Present Pefect Tense จึงไม่ใช้กับคำเหล่านี้ just, already, never, finally
- ใช้ since แบบนี้ Present Perfect Continuous Tense + since + Past Tense
- I have been studying English since 2007.
- He has been sleeping since he came back from the office.
- Q: You look tired. A: Yes, I have been working all day.
- I have known her for several years. (ไม่ใช่ have been knowing)
- I have been living here since I was a child.
- She have been working since she woke up.
5. Past Simple Tense
- การกระทำที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้วในอตีค มักมีคำแสดงอดีต yesterday, last year, ago, once upon a time, durng the war
- การกระทำที่เกิดขึ้นเป็นประจำในอดีต แต่ปัจจุบันเลิกทำแล้ว มักมีคำ always frequently, usually, never (ถ้ามีคำบอกความถี่อย่างเดียว ไม่บอกเวลา จะใช้ Present Simple Tense)
- She went to the movie last night.
- Jane always went to school late last year. (แต่ปัจจุบันไม่ได้สายแล้ว)
- I used to get up early in the morning when I was young.
6. Past Continuous Tense
- ใช้ได้โดยลำพังเมื่อมีช่วงเวลาแสดงว่ากำลังเกิดเหตุการณ์
- ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่าง ซึ่งกำลังดำเนินอยู่พร้อมๆกันในอดีต มักมี while, as, when
- เหตุการณ์ 1 ดำเนินอยู่ในอดีต (Past Continuous Tense) และเหตุการณ์ 2 เกิดขึ้นแทรก (Past Simple Tense)
- At 8 o’clock yesterday he was having breakfast.
- He was running all evening long.
- His wife was sleeping while he was working.
- While I was sleeping last night, it rained.
- As I was running down the street, I saw Sam driving a car.
7. Past Perfect Tense
- ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่างที่เกิดขึ้นในอดีต เหตุการณ์ 1 เกิดขึ้นและจบลงก่อน (Past Perfect Tense) และเหตุการณ์ 2 เกิดทีหลัง (Past Simple Tense)
- ใช้แทน Present Perfect Tense และ Past Simple Tense ในประโยค Indirect Speech
- ใช้ตามหลัง wish แสดงสิ่งที่อยากเป็นในอดีต (แต่ในอดีตไม่ได้เกิดเช่นนั้น)
- He had already woken up when the alarm rang.
- He said, “I have finished my homework.” (Direct) –> He said he had finished his homework. (Indirect)
- I wish I had been rich.
8. Past Perfect Continous Tense
- เหตุการณ์ 1 เกิดขึ้นและจบลงก่อน (Past Perfect Tense) และเหตุการณ์ 2 เกิดทีหลัง (Past Simple Tense) เหมือน Past Perfect แต่แสดงเน้นความต่อเนื่อง
- ใช้ในประโยค Indirect Speech
- We had been waiting for half an hour before she came.
- He said, “I have been waiting for you 2 hours.” (Direct) –> He said he had been waiting for you 2 hours. (Indirect)
9. Future Simple Tense
- การกระทำที่ยังไม่เกิด แต่จะเกิดขึ้นในอนาคต มักใช้กับ Adverb ต่อไปนี้ tomorrow, next month, soon, shortly, in the future, in a short time, this evening
- เหตุการณ์ที่จะเกอดขึ้นในอนาคต ใช้ Future Simple, Present Continous, Present Simple, going to
- ใช้ to be going to
- แสดงความตั้งใจหรือตัดสินใจไปแล้ว
- คาดคะเนว่าเหตุการณ์นั้นกำลังจะเกิดขึ้น
- แสดงความเชื่อมั่นว่าเหตุการณ์จะเกิดขึ้นแน่นอน
- ใช้ was/were going to เพื่อแสดงเหตุการณ์ที่ไม่เกิดขึ้นในอดีต เพียงแต่คาดว่าจะเป็นเช่นนั้น
- ไม่นิยมใช้ going to เพื่อแสดงความหมายที่เป็นอนาคตอย่างแท้จริง
- ไม่นิยมใช้ going to กับกริยาแสดงการรับรู้ เช่น forget, know, understand, remember หรือ come, go (เนื่องจากเป็นคำซ้ำซ้อน)
- He will fly to … tomorrow. / He is flying to … tomorrow. / He flies to .. tomorrow.
- I am going to write a letter to Jane tonight.
- I think it is going to rain.
- My sister is going to have a baby. / She’s gonna have a baby.
- I was going to meet you yesterday, but I forgot.
- Today is Monday. Tommorow wil be Tuesday.
- I will remember your tel no.
10. Future Continous Tense
- เพื่อบอกว่า ณ เวลาหนึ่งในอนาคตจะมีเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นหรือดำเนินอยู่
- เหตุการณ์ในอนาคตที่ผู้พูดตัดสินใจแล้ว่าจะทำ
- At this time tomorrow she will be staying in New York.
- I will be watching television all evening tomorrow.
11. Future Perfect Tense
- บอกเมื่อถึงเวลาหนึ่งในอนาคต ว่าเหตุการณ์นั้นจะสิ้นสุดแน่นอน มักมีคำบอกเวลา เช่น by next week, before next year
- ถ้าเป็นประโยคอนาคต 2 ประโยคที่เชื่อมกันอยู่ ประโยคที่อยู่หลังคำเชื่อมต้องเป็น Present Simple Tense
- ใช้ในการคาดคะเนหรือมีความสงสัย
- คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าว่า เมื่อถึงเวลานั้นเหตุการณ์ 1 จบลงไปแล้ว (Future Perfect Tense) และมีเหตุการณ์ 2 เกิดขึ้นทีหลัง (Present Simple Tense)
- The leaves will have fallen from the trees after 2 months.
- She will have finished dressing by the time you get there.
- I suspect that she will have slept by now.
- He will have eaten the meal when you arrive.
- By next week I will have worked for 2 months. (ทำครบ 2 เดือน)
12. Future Perfect Continuous Tense
- เหมือน Future Perfect แต่แสดงเน้นความต่อเนื่อง เมื่อมาถึงเวลาหนึ่งในอนาคต เหตุการณ์ที่ดำเนิดมาก่อนหน้านั้น จะยังคงดำเนินอยู่และดำเนินต่อไปอีก
- By next week I will have been working for 2 months. (ทำครบ 2 เดือนก็จะยังทำงานต่อไปอีก)
Print สามเหลี่ยมตัวเลขด้วย For Loop
This post I tried to print numbers like triangle line-by-line. A little bit fun ^o^
for (i=1;i<=5;i++) {
for (j=1;j<=i;j++) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
for (j=1;j<=i;j++) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
1_
1_2_
1_2_3_
1_2_3_4_
1_2_3_4_5_
1_2_
1_2_3_
1_2_3_4_
1_2_3_4_5_
for (i=5;i>=1;i--) {
for (j=1;j<=i;j++) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
for (j=1;j<=i;j++) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
1_2_3_4_5_
1_2_3_4_
1_2_3_
1_2_
1_
1_2_3_4_
1_2_3_
1_2_
1_
for (i=1;i<=5;i++) {
for (j=5;j>=i;j--) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
for (j=5;j>=i;j--) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
5_4_3_2_1_
5_4_3_2_
5_4_3_
5_4_
5_
5_4_3_2_
5_4_3_
5_4_
5_
for (i=5;i>=1;i--) {
for (j=5;j>=i;j--) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
for (j=5;j>=i;j--) {
System.out.print(j+"_");
}
System.out.println();
}
5_
5_4_
5_4_3_
5_4_3_2_
5_4_3_2_1_
5_4_
5_4_3_
5_4_3_2_
5_4_3_2_1_
for (i=1;i<=5;i++) {
for (j=1;j<i;j++) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k<=5;k++) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
for (j=1;j<i;j++) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k<=5;k++) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
1 2 3 4 5
_*2 3 4 5
_*_*3 4 5
_*_*_*4 5
_*_*_*_*5
_*2 3 4 5
_*_*3 4 5
_*_*_*4 5
_*_*_*_*5
for (i=5;i>=1;i--) {
for (j=1;j<i;j++) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k<=5;k++) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
for (j=1;j<i;j++) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k<=5;k++) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
_*_*_*_*5
_*_*_*4 5
_*_*3 4 5
_*2 3 4 5
1 2 3 4 5
_*_*_*4 5
_*_*3 4 5
_*2 3 4 5
1 2 3 4 5
for (i=5;i>=1;i--) {
for (j=5;j>i;j--) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k>=1;k--) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
for (j=5;j>i;j--) {
System.out.print("_*");
}
for(k=i;k>=1;k--) {
System.out.print(k+" ");
}
System.out.println();
}
5 4 3 2 1
_*4 3 2 1
_*_*3 2 1
_*_*_*2 1
_*_*_*_*1
_*4 3 2 1
_*_*3 2 1
_*_*_*2 1
_*_*_*_*1
Thursday, August 27, 2015
[Essay] Reason to attend colleges or universities
People attend to colleges or universities for a lot of different reasons. I believe that the three most reasons are to prepare for career, to have new experiences, and to increase their knowledge of themselves and the word around them.
Career preparation is become more and more important for young people. For many, this is the primary reason to go to college. They know that the job market is competitive. At college, they can learn new skill for careers with a lot of opportunities. This means careers, such as information technology, are expected to need a large workforce in the coming years.
Also, students go to college and universities to have new experiences. This means having the opportunity to meet people different from those in their hometowns. For most students, going to college is the first time they have been away from home by themselves. In addition, this is the first time they have had to make decisions on their own. Making these decisions increase their knowledge of themselves.
Besides looking for self-knowledge, people also attend a university or college to expand their knowledge in subject they find interesting. For many, this will be their last chance for a long time to learn about something that does not related to their career.
I would recommend people not be so focused on a career. They should go to college to have new experience and learn about themselves and the world they live in.
--------------------
1. Introduction
- People do it for many reasons.
- I believe that the 3 most common reasons are...
- Prepare for a career
- Competitive job market
- New skill with opportunity
- Have new experiences
- Meet different people
- Away from home --> make decisions --> increase knowledge
- Expand interesting knowledge
- Last chance to do
- I would recommend that people not to...
- They should do to... (3 reasons)
[Essay] Knowledge gained from experience
Experience is the best teacher is an old cliche but I agree with it. The most importance, and sometimes the hardest lessons we learn in life come from our participation in situations. We cannot learn everything from a book.
Of course, learning from books in the formal educational setting is also valuable. It is in school that we learn the information we need to function in our society. We learn how to speak, write, and understand mathematical equations. This is all information that we need to live in our communities and earn a living.
Nevertheless, I think that the most important lessons can’t be taught. They have to be experienced. No one can teach us how to get along with others or how to have self-respect. As we grow from children into teenagers, no one can teach us how to deal with peer pressure. As we leave adolescence behind and enter adult life, no one can teach us how to fall in love and get married.
This should not stop us from looking for guidelines along the way. Teachers and parents are valuable sources of advice when we are young. As we enter into new stages in our lives, the advice we receive from them is very helpful because they have already had similar experiences. But experiencing our own triumphs and disasters is really the only way to learn how to deal with life.
--------------------
1. Introduction
- It's true that experience is the best teacher because we cannot learn everything from a book
- Learning from books (General fact)
- Learn information to live in society and earning
- Learn from experiences (My opinion)
- No one can teach, you need to learn it by yourself, i.e...
- Learning from books or others is still good but experience is better
Friday, August 7, 2015
Monday, August 3, 2015
ความหมายของ DAS NAS SAN
DAS: Directed Attached Sorage = คือ storage แบบที่ติดแนบมากับคอมพิวเตอร์ แบบดั้งเดิม จะแลกไฟล์ทีก็ต้องเสีบแฟลชไดรว์ย้าย
LAN = คือ เครือข่าย (วงแลน) ที่เพิ่มเข้ามาสำหรับคอมพิวเตอร์ (ไคลเอนต์) หลายตัวต่อเข้าด้วยกัน ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แต่ข้อมูลก็ยังแยกกันแต่ละเซิร์ฟเวอร์อยู่ดี (เซิร์ฟเวอร์แต่ละตัวมี storage แบบ DAS ซึ่จะเกิดปัญหาเวลาดิสก์เต็มต้องเปลี่ยนเซิร์ฟเวอร์ตัวใหม่ที่จุได้เยอะขึ้น) ถ้าเล็กก็อาจจะมีเซิร์ฟเวอร์แค่ดัวเดียวมาคอยบริหารจัดการประจำแต่ละวงแลน
NAS: Network Attached Storage = คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ใช้เป็น storage หรือ storage ที่ใช้เก็บไฟล์เพื่อการแชร์ไฟล์บนเครือข่าย/แลน มีอยู่ตัวเดียวคอยเก็บข้อมูลบริหารจัดการไฟล์ทุกอย่าง ต่อเชื่อมกับเครือข่ายแลน/อินเตอร์เน็ตโดยตรง
SAN: Storage Area Network = คือ เครือข่ายย่อย ที่เพิ่มเข้ามาสำหรับ storage หลายๆ ตัว ซึ่งแยกออกจากเซิร์ฟเวอร์ แล้วเอามากองรวมกันไว้ในที่หนึ่ง เซิร์ฟเวอร์แต่ละตัวก็จะมองเห็นก้อน storage อันนั้นเป็นของตัวเอง (ก้อนนั้นอาจจะมีทั้งของตัวเองกะของคนอื่นรวมๆ กัน และไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม OS) ทำให้สามารถเพิ่ม storage ที่หลังได้โดยไม่ต้องยุ่งกับเซิร์ฟเวอร์ เชื่อม storage โดย Fiber Channel Switch
DAS ตรงข้ามกับ SAN
NAS ส่งข้อมูลเป็นไฟล์ SAN ส่งข้อมูลเป็น block
LAN |
NAS |
SAN |
สรุป
- DAS = เป็น storage ที่ติดอยู่กับ เครื่อง
- LAN = เป็นเครือข่ายที่เอาคอมพ์มาเชื่อมกัน มีเซิร์ฟเวอร์ไคลเอนท์ storage ยัง DAS ของไครของมัน
- NAS = เป็น storage อันเดียวแยกจากเซิร์ฟเวอร์ ต่อเข้ากับวงแลน แชร์ข้อมูลเป็นไฟล์ทั้งเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนท์
- SAN = เป็นเครือข่ายที่เชื่อม storage หลายอันมารวมกัน แยกออกจากเซิร์ฟเวอร์ แชร์ข้อมูลเป็นบล็อกระหว่างเซิร์ฟเวอร์ด้วยกัน ตัวสวิตซ์ไฟเบอร์ต่อเข้ากะเซิร์ฟเวอร์อีกที
- RAID คือ การทำให้ฮาร์ดดิสก์หลายตัวถูกใช้งานร่วมกันเสมือนเป็นฮาร์ดดิสก์ขนาดใหญ่ตัวเดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาแทนที่จะใช้ ฮาร์ดดิสก์ความจุเยอะๆ อันเดียว ก็มาใช้อันถูกๆ หลายอันต่อกันเป็นอันเดียว
Subscribe to:
Posts (Atom)